<html>
<head>
<script language="javascript">
<!--
var a;
a = prompt("ความกว้าง")
var b;
b = prompt("ความยาว")
alert("พื้นที่สี่เหลี่ยม"+a*b);
</script>
</head>
</html>
ด.ช.รัฐสภา ลูกบัว เลขที่ 5 ม. 3/6
My school
วันพุธที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2555
กิจกรรมที่4.1
<html>
<head>
<script language="javascript">
<!--
var a;
a = prompt("กรุณากรอกชื่อ-สกุล")
alert("สวัสดี"+a);
</script>
</head>
</html>
ด.ช.รัฐสภา ลูกบัว เลขที่ 5 ม.3/
<head>
<script language="javascript">
<!--
var a;
a = prompt("กรุณากรอกชื่อ-สกุล")
alert("สวัสดี"+a);
</script>
</head>
</html>
ด.ช.รัฐสภา ลูกบัว เลขที่ 5 ม.3/
วันจันทร์ที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2555
วันพุธที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2555
โรงเรียนของฉัน Dumex
จัดทำโดย
ด.ช.รัฐสภา ลูกบัว เลขที่ 5 ม.3/6
นาย ปณิธิ ลุสมบัติ เลขที่ 14 ม.3/6
ด.ช.แทนสุข น้อยมิ่ง เลขที่ 31 ม.3/6
วันพุธที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2555
วันพุธที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2555
วันแม่
แม่ผู้ซึ่งให้กำเนิดเรา แม่ผู้เป็นคนดูแลเราตั้งแต่เล็ก
แม่ผู้ซึ่งเปรียบเสมือนนางพยาบาลผู้ดูแลเรายามป่วยไข้
แม่ซึ้งเป็นเหมือนคุณครูคนแรกของเรา
มืออันแข็งแรงและอ่อนโยนที่เปี่ยมไปด้วยความรักและความห่วงใยซึ่งคอยพยุงเราที่ล้มลงให้ลุกขึ้นอย่างสง่างาม
สามารถดำรงชีวิตในวันต่อไปอย่างมั้นคง
แม่ยอมอดทนอุ้มท้องเรามากกว่า9เดือน
เลี้ยงดูมากกว่าสิบปีด้วยความรักที่แม่มีให้ต่อลูกความหวังที่จะได้เห็นลูก
เติบโตอย่างงดงามในวันข้างหน้า
ความผูกพันพันที่เกิดขึ้นมาต่อลูกที่เลี้ยงดูมากว่าสิบปี
แม่เป็นคนรักเรามากที่สุดแม้ว่าบางครั้งเราจะไม่รู้ว่าแม่รักเราแค่ไหนก็ตาม
กลอนวันแม่
หากจะถามว่าใครเลี้ยงลูกมา
คงตอบว่าแม่ฉันนั้นแหละหนา
แม่คอยเฝ้าดูแลเลี้ยงลูกยา
ลูกเกิดมาได้เพราะแม่คนนี้
หากจะมีของขวัญไว้ให้แม่
คงได้แค่ความรักเท่าชีวี
ได้แค่นั้นก็เพราะเงินไม่มี
แต่ชาตินี้ลูกจะทดแทนพระคูณ
.........
วันเสาร์ที่ 11 สิงหาคม พ.ศ. 2555
วันสำคัญทางพนะพุทธศาสนา
วันมาฆบูชา
วันมาฆบูชา | |
วันมาฆบูชา ตรงกับวันขึ้น 15 ค่ำเดือน 3 หรือประมาณเดือนกุมภาพันธ์ หากเป็นปีอธิกมาส (ปีที่มีเดือน 8 สองหน) วันมาฆบูชาจะเลื่อนไปเป็น วันขึ้น 15 ค่ำเดือน 4 หรือประมาณเดือนมีนาคม
มาฆบูชา ย่อมาจากคำว่า มาฆปุรณมีบูชา แปลว่า การบูชาพระในวันเพ็ญเดือน3 ถือว่าเป็นวันจาตุรงคสันนิบาต แปลว่า การประชุมอันประกอบด้วยองค์ 4 ซึ่งเป็นเหตุการณที่เกิดขึ้นพร้อมกันในสมัยพุทธกาล คือ1. พระสงฆ์จำนวน 1250 ซึ่งไปเผยแผ่พระพุทธศาสนาในสถานที่ต่างๆ ได้เดินทางมาเฝ้าพระพุทธเจ้า 2. พระสงเหล่านี้ล้วนเป็นพระอรหันต์ทั้งสิ้น แลได้รับการอุปสมบทจากพระพุทธเจ้าโดยตรง การบวชชนิดนนี้เรียกว่า เอหิภิกขุอุปสัมปทา 3. พระสงฆ์จำนวน 1250 ได้เดินทางมาประชุมพร้อมกันโดยมได้นัดหมาย 4. วันที่มาประชุมกันตรงกับวันเพ็ญเดือน มาฆะ (วันเพ็ญเดือน3) ในวันนี้พระพุทธเจ้าได้ทรงแสดงพระธรรมเทศนา อันเป็นหัวใจของพระพุทธศาสนา คือ โอวาทปาติโมกข์ ซึ่งประกอบด้วย 3 ประการได้แก่ 1. ละเว้นความชั่วทั้งปวง 2. ทำความดีให้ถึงพร้อม 3. ทำจิตใจให้บริสุทธิ์ผ่องใส ประวัติในการประกอบพีธีกรรมทางพระพุทธศาสนา การมีประเพณีมาฆบูชานี้ แต่เดิมไม่เคยทำมา พึ่งเกืดขึ้นในสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวอยู่หัว ทรงตามแบบโบราณบัณฑิตนิยมไว้ว่า วันมาฆบุรมีพระจันทร์เสวยฤกษ์มาฆเต็มบริบูรณ์ เป็นวันที่พระอรหันต์จำนวน 1250 รูปได้มาประชุมพร้อมกันด้วยองค์สี่ประการ เรียกว่าจาตุรงคสันนิบาต พระพุทธเจ้าได้ตรัสเทศนาโอวาทปาติโมกข์ในที่ประชุมสงฆ์ เป็นการประชุมใหญ่และอัศจรรย์ในพระพุทธศาสนา จึงได้ถือเอาเหตุนั้นกอบการสักการะบูชาพระพุทธเจ้าและพระอรหันต์ 1250 รูปนั้น ให้เป็มที่ตั้งแห่งความเลื่อมใสสังเวช การประกอบพิธีเวียนเทียนในวันมาฆบูชา ประชาชนจะจัดเตรียมเครื่องสัการะ เช่น ดอกไม้ ธูป เทียน ไปพร้อมกันที่วัดในเวลาเย็นหรือค่ำ เพื่อประกอบพิธีมาฆบูชา การประกอบพิธีกรรมจะทำที่โบสถ์ เพราะหลังจากฟังโอวาทและสวดมนต์เสร็จแล็ว จะทำการเวียนเทียนรอบโบสถ์ ในการเดินเวียนเทียนรรอบโบสถ์ จะกระทำ3รอบ โดยเวียนไปทางขวาเรียกว่า เวียนแบบทักขิณาวัฏ ในขณะเดินเวียนเทียน ต้องทำจิตใจให้มีสมาธิ สงบและแน่วแน่อยู่กับบทบูชาพระพุทธคุณ พระธรรมคุณและพระสังฆคุณ ไม่ควรส่งเสียงพูดคุยเสียงดังหรือเดินแซงผู้ที่เดินนำอยู่ข้างหน้า |
วันวิสาขบูชา
วันวิสาขบูชา | |
.วันวิสาขบูชา ตรงกับ วันเพ็ญขึ้น 15 ค่ำเดือน 6 หรือราวเดือนพฤษภาคม แต่หากตรงกันกับปีอธิกมาส คือ มีเดือน 8 สองหน วันวิสาขบูชาจะเลื่อนไปเป็นวันขึ้น 15 คำกลางเดือน7 หรือราวเดือนมิถุนายน
วิสาขบูชา ย่อมาจากคำว่า วิสาขปุรณนีบูชา หมายถึง การบูชาในวันเพ็ญเดือนวิสาขะ (เดือน6) ในวันนี้ได้มีเหตุการณ์ที่สำคัญเกิดขึ้นได้แก่1. เป็นวันประสูติ ของพระพุทธเจ้า ณ สวนลุมพินีวันซึ่งอยู่ระหว่างกรุงกบิลพัสดุ์และกรุงเทวทหะ แคว้นสักกะ 2. เป็นวันตรัสรู้ ของพระพุทธเจ้า ณ ร่มศรีมหาโพธิ์ ริมฝั่งแม่น้ำเนรัญชรา ตำบลอุรุเวลาเสนนิคม แคว้นมคธ โดยธรรมะที่พระพุทธเจ้าทรงตรัสรู้คือ อริยสัจ 4 คือ ความจริงอันประเสริฐ 4 ประการได้แก่ 1. ทุกข์ คือ หนทางที่ทำให้เกิดทุกข์ 2. สมุทัย คือ เหตุที่ทำให้เกิดทุกข์ 3. นิโรธ คือ การดับทุกข์ 4. มรรค คือ หนทางให้ถึงการดับทุกข์ ทั้งสี่ข้อนี้ถือเป็นสัจ ธรรม เรียกว่าอริยสัจ เพราะเป็นสิ่งที่พระพุทธเจ้าทรงค้นพบเป็นสัจธรรมชั้นสูงประเสริฐกว่าสัจธรรมทั่วไป 3. เป็นวันปรินิพพานของพระพุทธเจ้า ณ ต้นสาละคู่ ในสาลวโนทยานของมัลลกษัตริย์ใกล้เมืองกุสินารา แคว้นมัลละ รวมพระชนม์อายได้ 80 พรรษา เหตุการณ์ทั้งสามนี้ เกิดขึ้นในวันเพ็ญเดือนวิสาขะอย่างเดียวกัน นับว่าเป็นเรื่องอัศจรรย์ เราจึงกำหนดวันเพ็ญเดือนวิสาขะเป็นวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา เพื่อระลึกถึงองค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้าผู้ทรงค้นพบหลักธรรม แล้วนำมาสอนชาวโลกนั้นมิอาจประมาณได้ เมื่อถึงวันวิสาขบูชา ทางราชการกำหนดให้เป็นวันหยุดราชการ 1 วัน ชาวพุทธจะประกอบพิธีกรรมตามประเพณีนิยมดังนี้ 1. ทำบุญตักบาตร ฟังเทศน์ รักษาศีล 2. ประกอบพิธีเวียนเทียน 3. บำเพ็ญสาธารณประโยชน์ | |
วันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชา | |
วันอาสาฬหบูชาตรงกับ วันเพ็ญข้น 15 คำเดือน 8 หรือราวเดือน กรกฎาคม ซึ่งเป็นวันพระจันทร์เสวยอาสาฬหฤษก์ แต่หากตรงกับปีอธิกมาส คือ มีเดือน 8 สองหน วันอาสาฬหบูชาจะเลื่อนไปเป็นวันเพ็ญขึ้น 15 คำ แทนซึ่งจะอยู่ในราวเดือนสิงหาคม
ประวัติความเป็นมาอาสฬหบูชา ย่อมาจากคำว่า อาสาฬหปุรณมีบูชา แปลว่า การบูชาในวันเพ็ญเดือน อาสาฬห คือ เดือน 8 ถือเป็นวันสำคัญวันหนึ่งในพระพุทธศาสนา เพราะมีเหคชตุการณ์สำคัญเกิดขึ้น 3 ประการคือ 1. เป็นวันที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแสดงปฐมเทศนา คือ แสดงธรรมเป็นครั้งแรก มีชื่อว่า ธัมมจักรกัปปวัตนสูตร ซึ่งมีใจความสำคัญกล่าวถึงอริยสัจ4 การแสดงธรรมครั้งนี้เพื่อโปรดเหล่าปัญจวคีย์ทั้ง 5 คือ อัญญาโกญฑัญญะ วัปปะ ภัททิยะ มหานามะ และอัสสชิ ซึ่งท่านอัญญาโกณฑัญญะได้ดวงตาเห็นธรรม และได้รับการอุปสมบทด้วยวิธีเอหิภิกขุอุปสัมปทาเป็นพระอริยสงฆ์องค์แรกของพระพุทธศาสนาทำให้วันนี้มีพระรัตนตรัยครบองค์สาม 2. เป็นวันที่เกิดสังฆรัตนะหรือเป็นวันที่เกิดอริยพระสงฆ์สาวกในพระพุทธศาสนาเป็นครั้งแรกในโลก 3. เป็นในที่พระรัตนตรัยคือ พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ เกิดขึ้นครบ 3 ประการเป็นครั้งแรกในโลก เหตุการณ์ในวันอาสาฬหบูชานี้ เกิดขึ้นหลังจากที่พระพุทธเจ้าตรัสรู้ในวันเพ็ญวิสาขะแล้วสองเดือน การประกอบพิธีกรรมในวันอาศฬหบูชา 1. ทำบุญตักบาตรในตอนเช้า 2. รักษาศีล ปฏิบัติธรรม ฟังพระธรรมเทศนา 3. เวียนเทียนที่วัดในตอนค่ำ |
วันเข้าพรรษา
วันเข้าพรรษา | |
วันเข้าพรรษา คือ วันที่พระสงฆ์อธิษฐานว่าจะพักประจำอยู่ ณ แห่งใดแห่งหนึ่ง ตลอดระยะเวลาที่ฤดูฝนมีกำหนด 3 เดือนตามพระวินัยบัญญัติ โดยไม่ไปค้างแรมที่อื่น โดยทั่วเรียกกันว่า จำพรรษา
วันเข้าพรรษา กำหนดเป็น 2 ระยะ คือ1. ปุริมพรรษา คือ วันเข้าพรรษาต้น ตรงกับวันแรม 1 ค่ เดือน 6 ของทุกปี 2. ปัจฉิมพรรษา คือ วันเข้าพรรษาหลัง สำหรับปีอธิกมาส คือ มีเดือน 8 สองหน ตรงกับวันแรม 1 คำ เดือน 8 หลัง ประวัติของวันเข้าพรรษา ในสมัยพุทธกาล พระพุทธเจ้าไม่ได้ทรงบัญญัติพระวินัยให้พระสงฆ์สาวกอยู่ประจำพรรษา เหล่าภิกษุสงฆ์จึงต่างพากันออกเดินทางเผยแผ่พระพุทธศาสนาในที่ต่างๆ โดยไม่ย่อท้อทั้งในฤดูหนาว ฤดูร้อน และฤดูฝน ต่อมาชาวบ้านได้พากันติเตียนว่า พวกสมณะไม่ยอมหยุดพักสัญจรแม้ในฤดูฝนในขณะที่นักบวชในศาสนาอื่น พากันหยุดเดินทางในช่วงฤดูฝน การที่พระภิกษุสงฆ์จาริกไปในที่ต่างๆ แม้ในฤดูฝน อาจเหยียบยำข้าวกล้าของชาวบ้านได้ รับความเสียหาย หรืออาจไปเหยียบยำโดนสัตว์เล็กสัตว์น้อยที่ออกหาจินจนถึงแก่ความตาย เมื่อพระพุทธเจ้าทราบเรื่อง จึงได้วางระเบียบให้ภิกษุประจำอยูที่วัดเป็นเวลา 3 เดือน พระสงฆ์ที่เข้าจำนำพรรษาแล้วจะไปค้างแรมที่อื่นไม่ได้ แต่หากมีกรณีจำเป็น 4 ประการต่อไปนี้ ภิกษุผู้อยู่พรรษาสามารถไปค้างที่อื่นได้ โดยไม่ถือว่าเป็นการขาดพรรษา แต่ต้องกลับมาภายในคระยะเวลา 7 วัน คือ 1. ไปรักษาพยาบาลภิกษุ หรือบิดามารดาที่เจ็บป่วย 2. ไประงับไม่ให้ภิกษุสึก 3. ไปเพื่อกิจธุระของคณะสงฆ์ 4. ทายกนิมนต์ไปฉลองศรับธาในการบำเพ็ญกุศลของเขา ประโยชน์ในการเข้าพรรษาของพระภิกษุสงฆ์ 1. พระภิกษุสงฆ์จะได้พักผ่อนหลังจากที่เดินทางไปเผยแผ่พระพุทธศาสนาเป็นเวลานาน 2. เพื่อให้พระสงฆ์มีเวลาศึกษาพระธรรมวินัยมากขึ้น 3. เพื่อเปิดโอกาสให้ชาวบ้านได้บำเพ็ญกุศล |
วันออกพรรษา
วันออกพรรษา | |
วันออกพรรษาตรงกับวันขึ้น 15 คำเดือน 11 หรือราวเดือนตุลาคม เป็นวันสิ้นสุดการจำพรรษาของพระภิกษุสงฆ์ที่อยู่ร่วมกันในวัดหรืถานที่ที่เข้าพรรษาตลอดระยะเวลา 3 เดือนในวันนี้พระสงฆ์จะประกอบพิธีสังฆฏรรม ซึ่งเรียกว่า วันมหาปวารณา คือ เป็นวันที่พระภิกษุทุกรูปจะอนุญาตให้ว่ากล่าวตักเตือนกันได้ ในรื่องราวเกี่ยวกับความประพฤติต่างๆ นับตั้งแต่พระเถระ ได้แก่ พระภิกษุผู้มีอาวุโสสูงลงมา จะสามารถว่ากล่าวตักเตือนกันหรือเปิดโอกาสให้วักถามข้อสงสัยซึ่งกันและกัน
การทำมหาปวารณา เป็นสังฆกรรมอย่างหนึ่งแทนการสวดปาติโมกข์(พระวินัย) ที่ได้กระทำกันทก 15 วันในช่วงเข้าพรรษาการประกอบพิธีในวันออกพรรษา การประกอบพิธีสำคัญในวันนี้ เหล่าชาวพุทธจะนิยมทำบูญกุศลเป็นกรณีพิเศษ เช่น ตักบาตรในตอนเช้า ถวายสังฆทาน ไปทำบุญที่วัด ถวายภัตตาหาร ฟังพระธรรมเทศนา และมีการตักบาตรเทโวในวันรุ่งขึ้นโดย เรียกกันเต็ม ๆ ว่า ตักบาตรเทโวโรหนะ คือตักบาตรเนื่องในวันคล้ายวันที่พระพุทธเจ้าเสด็จลงมาจากเทวโลก |
วันพุธที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2555
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)